การบริหารจัดการโครงการ SODU สำหรับความเป็นกลางทางคาร์บอนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Carbon Neutral University)
1. หลักการและเหตุผล (โดยสรุป) :
ตามแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) เป็นแผนกลยุทธ์ที่มีเป้าหมายเพื่อขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยรวม ให้สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติและความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งในระดับพื้นที่และประเทศ โดยได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็น“มหาวิทยาลัยชั้นนำที่รับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนด้วยนวัตกรรม”โดยหนึ่งในสิบสามยุทธศาสตร์ คือ การผลักดันให้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นต้นแบบของสถาบันการศึกษาที่มุ่งมั่นในการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutral University) ซึ่งหมายถึง การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ โดยการใช้ประโยชน์และต่อยอดความเข้มแข็งที่มหาวิทยาลัยได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยแก้ปัญหาของโลกอย่างยั่งยืน
2. วัตถุประสงค์ :
เพื่อการบริหารจัดการโครงการ SODU สำ หรับรั การก้าวเข้าสู่คสู่ วามเป็นกลางทางคาร์บอนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Carbon Neutral University) โดยมีหน้าที่ตั้งแต่การบริหารจัดการ การติดต่อประสานงาน การกำ กับติดตามการทำ งานของโครงการให้เป็นไปตามแผนงาน การประเมิณผลสัมฤทธิ์ของโครงการ การตลอดจนการจัดทำฐานข้อมูลของนักวิจัย)
3. กลุ่มเป้าหมาย :
4. พื้นที่เป้าหมาย :
สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มช
5. ขั้นตอนการดำเนินงาน :
ปีงบประมาณ 2566
ปีงบประมาณ 2567
ปีงบประมาณ 2568
ปีงบประมาณ 2569
ปีงบประมาณ 2570
6. ระยะเวลาดำเนินการ : ปีงบประมาณเริ่มต้น 2566 ถึงปีงบประมาณสิ้นสุด 2570
7. ผลผลิตและตัวชี้วัด (OUTPUT) :
8. ผลลัพธ์ (OUTCOME) :
- ก่อให้เกิดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากแหล่งกำเนิด (Source) และเพิ่มแหล่งดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Sink) เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการก้าวเข้าสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ (Carbon Neutrality) ภายในปี ค.ศ. 2050
- ก่อให้เกิดแนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อการลงทุน ที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
- เป็นส่วนหนึ่งในการควบคุมอุณหภูมิโลกไม่ให้สูงขึ้นเพื่อลดความสูญเสียและเสียหายจากภัยธรรมชาติที่เป็นผลผลกระทบมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ